วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ความรู้เพิ่มเติม



อักษรไทยและการผันวรรณยุกต์


เสียงในภาษาหมายถึงเสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายสื่อความเข้าใจ ติดต่อสื่อสาร
ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์
อักษรไทย
อักษรไทย มี 44 ตัว คือ
อักษรกลาง
9 ตัว
อักษรสูง
11 ตัว
ต่ำคู่ มีเสียงคู่
อักษรสูง 14 ตัว

ต่ำเดี่ยว
(ไร้คู่)
10 ตัว
1.ไก่ 1.ผี 1พ 2 ภ1. งู 
2.จิก 2.ฝาก 3 ฟ2. ใหญ่ 
3.เด็ก 3-4ถุง ถ ฐ4 ฑ 5ฒ 6 ท 7ธ3.นอน 
4.ตาย 5-6. ข้าว ข ฃ8 ค 9 ฅ 10 ฆ4. อยู่ 
5.เด็ก 7-9 สาร ศ ษ ส11 ซ5. 
6.ตาย 10 ให้ 12 ฮ6. ริม 
7.บน 11 ฉัน 13 ช 14 ฌ7. วัด 
8.ปาก อักษรสูง กับอักษรต่ำคู่ันวรรณยุกต์
ร่วมกันจะได้เสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
8. โม 
 9.โอ่ง อ9. ฬี 
อักษรกลางคำเป็นผันวรรณยุกต์ได้ครบทั้ง 5 เสียง  10 โลก 

พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง
เสียงรูป
. ก
๒. ข
๓. ง
๔. จ
๕. ช
๖.ซ
๗.ย
๘.ด
๙.ต
๑๐. ท
๑๑.น
๑๒. บ
๑๓.

๑๔.

๑๕.

๑๖. 

๑๗.ร
๑๘.ล
๑๙.ว
๒๐.ฮ
๒๑.อ

ข ค ฅ ฆ


ช ฉ ฌ
ซ ศ ษ ส
ญ ย
ด ฎ
ต ฏ
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
น ณ


พ ผ ภ
ฝ ฟ


ล ฬ

ฮ ห

หน้าที่ของพยัญชนะ
๑. เป็นพยัญชนะต้นา เป็น สัตว์ ใกล้สูพันธ์
ก ป ส กล ส พ เป็นพยัญชนะต้น
๒. เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์(ตัวสะกด)เกิเป็ชาหมารันี้หนั
อักษรที่ขีดเส้นใต้เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด
๓. เป็นอักษรควบ (ควบแท้และ ไม่แท้)ควบแท้ พลาดพลั้ง ครั้คราว กราวกรู ครูคลุ้คลั่ง ขวักไขว่
ควบไม่แท้ เศร้า สร้อย ศรี จริ

ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออกเสียงอักษรทั้งสองตัวพร้อมกัน
ที่เรียกควบไม่แท้เพราะไม่ได้ออกเสียงตัวที่ควบด้วย กล่าวคือ
ไม่ได้ออกเสียง ร นั่นเอง
๔. เป็นอักษรนำ-อักษรตามตลาด ต อักษรกลาง นำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ต
สนาม ส อักษรสูง นำ น อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ส
ผลิต ผ อักษรสูงนำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ผ
อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำ ย อักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม อ
หรู หรา ห อักษรสูง นำ ร อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ห
หญิง หญ้า ใหญ่ ห อักษรสูง นำ ญอักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม ห
๕. เป็นสระ (อ ว ย รรรค์ รร ทำหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระอะ
น ว เป็นสระอัวลดรูป
เสี ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย
 เสือ มือ อ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่งของสระ
๖. เป็นตัวการันต์จันทร์ (ทร์ เป็นตัวการันต์ ลักษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์
ศิลป์ ป์ เป็นตัวการันต์

อักษรนำ
อักษรควบ
ตัวอย่างคำอักษรนำ-อักษรตาม
ขยะขยาดตลาดเสนอ.........ฉลาดเสมอเฉลิมไฉน
สนิมสนองฉลองไสว..........เถลไถลหวาดหวั่นแสวง
อย่าอยู่อย่างอยากเผยอ..........ตลิ่งตลบเสนอถลอกแถลง
จมูกถนัดขยะแขยง...............สวะสวิงหน่ายแหนงขยับขยาย
หรูหราหรุบหรับ(สา)หร่าย... สลับสลายเสนาะสนุกสนาน
สลิดเสลดสลัดสมาน .. ห
หวังหลอกเหลนหลานหลากหลาย

ตัวอย่างคำอักษรควบแท้และไม่แท้
กราดเกรี้ยวเกลียวคลื่นคล้าย
ปลุกปลอบควายคลายโกรธเกรี้ยว
ตรวจตรากล้าจริงเพรียว
ขวักไขว่คว่ำกล้ำกลบคลอง
ทรายเศร้าเคล้าคลึงศรี
ทราบโทรมตรีปลีกล้วยพร่อง
ครึ้มครึกตริตรึกตรอง
เปล่าพลิกกลองแปรเปลี่ยนแปลง

รูปสระ
สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป
รูปสระชื่อรูปสระชื่อ
๑.ะวิสรรชนีย์๑๒.ใไม้ม้วน
๒.อัไม้หันอากาศ๑๓.ไไม้มลาย
๓.อ็ไม้ไต่คู้๑๔.โไม้โอ
๔.าลากข้าง๑๕.อตัว ออ
๕.อิพินทุ์อิ๑๖.ยตัว ยอ
๖.'ฝนทอง๑๗.วตัว วอ
๗.อํนิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง๑๘.ฤตัว รึ
๘."ฟันหนู๑๙.ฤๅตัว รือ
๙.อุตีนเหยียด๒๐.ฦตัว ลึ
๑๐.อูตีนคู้๒๑.ฦๅตัวลือ
๑๑.เไม้หน้า  
การประสมรูปสระ
สระรูปเดียวได้แก่ ะ อั อ็ า อิ อุ อู เ ใ ไ โ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
สระ ๒ รูปได้แก่  
เสียงสระเกิดจากรูปสระ
อี
เกิดจาก
พินทุ์อิ + ฝนทอง
อึ
เกิดจาก
พินทุ์อิ + หยาดน้ำค้าง (นฤคหิต)
อื
เกิดจาก
พินทุ์อิ + ฟันหนู
เ-ะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
เอ็-
เกิดจาก
ไม้หน้า + ไม้ไต่คู้
แอ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ไม้หน้า
โ-ะ
เกิดจาก
ไม้โอ + วิสรรชนีย์
เ-อ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ตัว อ
อัว
เกิดจาก
ไม้หันอากาศ + ตัว ว
-ำ
เกิดจาก
หยาดน้ำค้าง + ลากข้าง
เ-า
เกิดจาก
ไม้หน้า + ลากข้าง
สระ ๓ รูปได้ แก่  
เสียงสระเกิดจากรูปสระ
แ-ะ
เกิดจาก
ไม้หน้า+ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
อัวะ
เกิดจาก
ไม้หันอากาศ+ ตัว ว + วิสรรชนีย์
เ-อะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ตัว อ + วิสรรชนีย์
เ-าะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ลากข้าง + วิสรรชนีย์
สระ ๔ รูปได้แก่  
เอีย
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย
เอือ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ
สระ ๕ รูปได้แก่  
เอียะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย+ วิสรรชนีย์
เอือะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ + วิสรรชนีย์
สระมี ๓๒ เสียง 
สระเดี่ยว
(สระที่เกิดจากการเคลื่อนไหว
ของลิ้นและริมฝีปาก
เพียงส่วนเดียว)
สระประสม
(สระที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว
ของลิ้นทั้งส่วนหน้า - กลางและหลัง ทำให้รูปริมฝีกปาก
เปลี่ยนไป)
สระเกิน
(สระที่มีเสียงพยัญชนะ
ประสมอยู่)
๑. อะ๑๙.. อัวะ๒๕. อำ
๒. อา๒๐. อัว๒๖. ใอ
๓.อิ๒๑. เอียะ๒๗. ไอ
๔. อี๒๒. เอีย๒๘. เอา
๕. อึ๒๓. เอือะ๒๙. ฤ
๖. อือ(เมื่อใช้สระอือ ต้องมี อ ตามหลัง)๒๔. เอือ๓๐. ฤๅ
๗.อุ ๓๑. ฦ
๘. อู ๓๒. ฦา
๙. เอะ  
๑๐. เอ  
๑๑. แอะ  
๑๒. แอ  
๑๓. โอะ  
๑๔. โอ  
๑๕. เอาะ  
๑๖.ออ  
๑๗. เออะ  
๑๘. เออ  
สระในรูปแบบต่าง ๆ
รร ( ร หัน)อ, ว, และ ยสระลดรูปสระเปลี่ยนรูป
รร (ร หัน) ใช้แทน
สระอะ ได้ มักพบใน
คำที่มาจากภาษาอื่น
เช่นภาษาสันสกฤต
หรือภาษาเขมร
เช่น
บรรทม บรรทัด บรรเทา
บรรเทิง บรรจบ กรรไกร
สรรค์ สรร จำนรรจ์
ครรไล 

อ, ว , และ ย
เป็นได้ทั้ง สระและ
พยัญชนะ เช่น
อ เป็นสระเช่น
ขอ, มือ, เสือ, เธอ ฯลฯ
ว เป็น สระ เช่น
กลัว, บัว มั่ว ฯลฯ
ย เป็นสระ เช่น
เสีย, เพียะ ฯลฯ


บ่ได้ (บ่อ ลดรูป อ)
ณ โอกาสนี้
(ณะ ลด วิสรรชนีย์ ะ)
นก คน จน ครบ ฯลฯ
(ลดรูปสระโ-ะ)
ก็ (ลดรูป สระเอาะ)
ขืน (ลดตัว อ มาจาก
ขือ+น)



สังข์ รัก กัน ลับ
(เกิดจาก สะ+ง, ระ+ง
กะ+น, ละ+บ
เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์ ะ
เป็นไม้ผัด หรือไม้หัน
อากาศ)
เป็ด เห็น แข็ง
(ป+เ-ะ+ด เป็ด เปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)
เดิน (เดอ+น เปลี่ยน อ เป็นพินทุ์อิ)
เพชร (เพะ+ช เปลี่ยน วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้)

เห็น (เหะ+น เปลี่ยน
วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้)
แข็ง (แขะ+ง เปลี่ยน
วิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)

การวางตำแหน่งสระ
หน้าพยัญชนะ
ต้น
หลัง
พยัญชนะต้น
หน้า + หลัง
พยัญชนะต้น
บน
พยัญชนะต้น
หน้า+บน+หลัง
พยัญชนะต้น
ล่าง
พยัญชนะต้น
ตัวอย่างเช่น
เปล แต่ โธ่
ตัวอย่างเช่น
ตา จ๋า

ตัวอย่างเช่น
เขา เตะ เบาะ
เลอะเทอะ
ดี
ถึง
หรือ (บน+หลัง)
กลัว (บน+หลัง)
เสีย
เกลือ


สู่
คุณ



........สระไทยใช้หลายท่า
พยัญชนะดูแยบยล
เกิดพยางค์คำและความ
สื่อสารงานทั้งหลาย
ทั้งหลังหน้าใต้และบน
วรรณยุกต์ใช้ได้ความหมาย
เรียบเรียงตามคิดแยบคาย
ลุล่วงดีมีคุณอนันต์
อ.ฐะปะนีย์ นาครทรรพและคณะ

วรรณยุกต์วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง
ประโยชน์ของวรรณยุกต์ช่วยทำให้คำมีความหมายมากขึ้น แตกต่างจาก
ภาษาของชาติอื่น ๆ เช่น ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า (เสียงนี้มี ๔ ความหมาย กล่าวคือ
ปา หมายถึงขว้างปา
ป่า หมายถึงที่มีต้นไม้ภูเขา และสัตว์
ป้า หมายถึงพี่ของพ่อหรือแม่
ป๊าและป๋า หมายถึงพ่อในภาษาบางภาษา) ต่างจากภาษาอังกฤษ
ไม่ว่านักเรียนจะออกเสียง dog สูงต่ำอย่างไร ความหมายคงเดิม

การผันวรรณยุกต์
นักเรียนจะผันวรรณยุกต์ได้ดีหากนักเรียนจำอักษรไทยทั้ง 44 ตัวได้ จำอักษร 3 หมู่
และมีความเข้าใจเรื่องคำเป็นคำตาย นักเรียนสามารถนำความรู้ทั้ง 3 มาเป็นกฏเกณฑ์
ในการผันวรรณยุกต์ได้เป็นอย่างดี จงสังเกตตัวอย่างต่อไปนี้
อักษรไทย มี 44 ตัว คือ
อักษรกลาง
9 ตัว
อักษรสูง
11 ตัว
ต่ำคู่ มีเสียงคู่
อักษรสูง 14 ตัว

ต่ำเดี่ยว
(ไร้คู่)
10 ตัว
1.ไก่ 1.ผี 1พ 2 ภ1. งู 
2.จิก 2.ฝาก 3 ฟ2. ใหญ่ 
3.เด็ก 3-4ถุง ถ ฐ4 ฑ 5ฒ 6 ท 7ธ3.นอน 
4.ตาย 5-6. ข้าว ข ฃ8 ค 9 ฅ 10 ฆ4. อยู่ 
5.เด็ก 7-9 สาร ศ ษ ส11 ซ5. 
6.ตาย 10 ให้ 12 ฮ6. ริม 
7.บน 11 ฉัน 13 ช 14 ฌ7. วัด 
8.ปาก อักษรสูง กับอักษรต่ำคู่ันวรรณยุกต์
ร่วมกันจะได้เสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
8. โม 
 9.โอ่ง อ9. ฬี 
อักษรกลางคำเป็นผันวรรณยุกต์ได้ครบทั้ง 5 เสียง  10 โลก 

อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์)เสียง สามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวาหมายเหตุ
อักษรกลาง
ก จ ด ฎตฏ บ ป อ
คำเป็น
คำตาย


ปา


ป่า
กัด


ป้า
กั้ด


ป๊า
กั๊ด


ป๋า
กั๋ด
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรสูง
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คำเป็น
คำตาย



-

ข่า
ขัด

ข้า
ขั้ด

-
-

ขา
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงจัตวา
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรต่ำ
(อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว)
คำเป็น 
คำตายเสียงยาว
คำตายเสียงสั้น


คา
-
-


-
-
-


ค่า
คาด
ค่ะ


ค้า
ค้าด
คะ

-
-
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ หากผัน
ร่วมกับอักษรสูงจะผัน
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา


 

เว็บเพจนี้ได้รับแรงบันดาลใจจาก http://www.thaifolk.com

........................................................................